ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ภาวะทองคำ gold future 18-1-55




แน่นอนที่ว่าพวกเราได้คอมเฟิร์มการเป็น SAfe haven ของทองคำมาประมาณweek กว่าๆและได้เข้าทำการซื้อหรือ Long Goldเก็บเข้าพอร์ทกันแล้ว(ในทางเทคนิค-ก่อนการเกิดGolden Cross ด้วยซ้ำ) อย่างไรก็ดี ราคาทองคำก็ไม่ได้แปรผันในทิศทางตรงกันข้ามกับ EurUsdซะทีเดียว หรือเรียกได้ว่าบทจะขึ้นแล้วก็จะขึ้นท่าเดียวก็ได้ .....ช่วงนี้สำหรับEuropeเองแม้จะโดนซ้ำเติมโดยS&Pแต่ก็มีMoodyเข้ามาช่วย ทำให้การขายหนี้(พันธบัตร)สำเร็จเป็นระยะๆไปอย่างต่อเนื่อง ส่วนปัจจัยที่เสริมเข้ามาซึ่งเป็นSeasonal Demand : เช่นตรุษจีน จึงทำให้เกิดแรงซื้อขึ้นไปต่อเรื่อยๆ แม้บทสรุปความเป็น Safe havenของทองคำจะไม่แน่นอนที่สุด(absoulte)ซะทีเดียว  เพื่อที่จะhold long position ไปลุ้นขาขึ้นเต็มตีน(ขออภัยถ้าเห็นว่าไม่สุภาพ แต่เพื่อความชัดเจนครับ ^^) ในเดือน มีค.ซึ่งจะถึงกำหนดที่ bond กรีซจะหมดอายุแล้วลูกหนี้รายนี้มีภาระต้องจ่ายหนี้ประมาณ 3แสนล้านEU ซึ่งทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่า "ไม่มีจ่ายแน่ๆ"  ลูกหนี้รายนี้ก็แสนน่ารักขอการชำระเงินด้วยเทคนิคทางการเงินอันซับซ้อนซึ่งชาวบ้านอย่างเราไม่พึงรู้ เอาเป็นว่าขอจ่ายแค่ 1แสนล้านEU  -__-"  ถึงจะอย่างนั้นชาวโลกก็ยังเสียวไส้ว่าจะยังไม่มีเงินจ่ายอยู่ดีครับผม


อย่างไรก็ดีผมได้จัดส่งข่าวบทความนึงเข้าไปหาท่านราวๆ2-3วันก่อน คือ มีการค้นพบเหมืองทองขนาดใหญ่ที่ประเทศพม่า โดยที่เหมืองทองคำนี้มีศักยภาพพอที่จะสามารถผลิตทองคำหลายพันตันไปอีกหลายปีข้างหน้า เท่าที่ผมพอมีเวลาจะตรวจสอบบทวิเคราะห์จากหลายแหล่งคร่าวๆ  ไม่ค่อยมีคนเล่นประเด็นนี้เท่าไรนัก อันที่จริงก็ถูกต้องเพราะมันวิเคราะห์ยาก ซึ่งประเด็นอาจจะไปสัมพันธ์กับเรื่องการเมืองระหว่างประเทศซึ่งซับซ้อนเกินไป  สำหรับท่านที่ติดตามข่าวสารต่างประเทศคงพอจะได้ยินข่าวว่า ผู้นำประเทศนี้ ผู้นำประเทศนั้น ซึ่งแล้วแต่เป็นประเทศที่ยิ่งใหญ่ทางเศรษฐกิจ ต่างกรูกันเข้าไป say hello กับประเทศพม่า โดยส่วนใหญ่ก็จะอ้างการเข้าพบนาง อองซาน ซูจี ด้วยเหตุผลของการส่งเสริมประชาธิปไตย (นักการเมืองทั่วโลกอ้างคำนี้ขึ้นมาเพื่อทำอะไรก็ได้ทั้งนั้น) อันที่จริงแล้วผมก็คงไม่รู้รายละเอียดว่าเค้าจะคุยกันหลังฉากอย่างไร แต่ผมรู้ว่าหากพม่ามีการผลิตและปล่อยทองคำจากเหมืองทองที่มีขนาดใหญ่มหาศาลนี้ จะส่งผลกระทบต่อราคาทองคำโลก และราคาทองคำที่หลายๆประเทศทั่วโลกสำรองไว้เป็นปริมาณมหาศาลแน่นอน ด้วยหลักการทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นง่ายๆที่ว่า Supply+มากขึ้น (ในขณะที่ Demand คงที่) = ราคา-ปรับลงตามกลไกตลาดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้


ตามที่กล่าวไว้ในวรรคที่สอง ผมไม่อาจไปวิเคราะห์ว่าทองคำมันจะปรับลงด้วยเหตุผลนี้ในช่วงนี้ครับ เพราะบอกแล้วว่ามันยากเกินไปที่จะวิเคราะห์ ที่กล่าวมา"แค่แจ้งข่าว"ให้ท่านรับทราบเอาไว้ เพราะราคาทองมันอาจจะไม่ปรับลงด้วยเหตุผลนี้ไปอีกสิบปีจากนี้ก็เป็นไปได้ ที่ผมหวังไว้จริงๆกับเรื่องนี้ก็คือ คงไม่มีตำรวจโลก (มะ.กัน) จะมาหาเรื่องแจ้งจับและยึดทรัพย์อย่างที่เคยทำกับประเทศในตะวันออกกลางมาแล้วกันนะครับ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บัญญัติ 10 ประการ ของวิชาเศรษฐศาสตร์

แต่ละคนเลือกตัดสินใจกันอย่างไร  ? บทบัญญัติที่ 1 : แต่ละคนเผชิญภาวะ “ได้อย่าง-เสียอย่าง” (Tradeoffs) เสมอ There is no such thing as a free lunch การแลกกันระหว่าง “ประสิทธิภาพ” (Efficiency) และ “ความยุติธรรม” (Equity) การตระหนักรู้ในภาวะ “ได้อย่าง-เสียอย่าง” ก็มีความสำคัญเพราะคนสามารถมีการตัดสินใจที่ดีก็ต่อเมื่อทราบถึงทางเลือกต่าง ๆ ที่เขามีอยู่ บทบัญญัติที่ 2 : ต้นทุนของสิ่งหนึ่งคือสิ่งที่คุณยอมเสียไปเพื่อให้ได้ของสิ่งนั้นมา ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) คือ สิ่งที่คุณยอมสละไปเพื่อให้ได้มาซึ่งของสิ่งนั้น การตัดสินใจทำอะไรก็ตาม ไม่ว่าจะเรียนต่อหรือไม่ ผู้ตัดสินใจควรคำนึงถึงต้นทุนค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจนั้น นักกีฬาที่อาจทำเงินได้เป็นล้าน ๆ หากออกจากโรงเรียนไปเป็นนักกีฬาอาชีพจะตระหนักดีว่าต้นทุนค่าเสียโอกาสในการเรียนต่อของเขาสูงมาก และไม่น่าแปลกใจที่เขาเหล่านั้นเลือกออกจากโรงเรียน เนื่องจาก ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนน้อยกว่าต้นทุนที่เกิดขึ้น บทบัญญัติที่ 3 : คนที่มีเหตุมีผลคิดแบบ “เพิ่มทีละหน่วย” (Margin) การเปลี่ยนแปลงแบบเพิ่มทีละหน่วย หรือ “Margina

กระบวนการ(process) สำคัญกว่า ผลลัพธ์(output)

ฝากถึงน้องๆที่เรียนหรือทำงานสายการตลาด หรืองานใดที่มีเป้าหมาย(goal)เป็นสำคัญ รวมถึงท่านผู้บริหาร.... อย่าได้ไปสนใจผลลัพธ์[output] เป้าหมายหรือคะแนนที่ได้ มากจนเกินไป หลายครั้งที่ผลลัพธ์นั้นเป็นปัจจัยที่เราไม่อาจควบคุมได้ หรือต้องใช้โชคช่วย(ดวง) แต่ถ้าเรามีการทำงานหรือมีกระบวนการทำงาน(PROCESS)ที่ดี ...แม้ว่าผลลัพธ์วันนี้ยังไม่ดี จะขอให้เชื่อมั่น และมั่นใจ ในประสิทธิภาพของกระบวนการทำงานที่ดี และมีคุณภาพ ว่าสักวันหนึ่ง ผลลัพธ์ที่ดีจะต้องตามมา อย่างแน่นอน ไม่ช้าก็เร็ว แต่หากบางท่านมีกระบวนการที่ไม่ดี แต่ดันโชคช่วยมีผลงานที่ดี ก็อย่าได้เบาใจ จะขอให้ จงระมัดระวัง ว่าผลลัพธ์หรือลูกค้าที่ดีนั้น จะอยู่กับท่านได้ไม่นาน หรืออาจจะไม่มีอีกต่อไปก็เป็นได้ เพราะว่าดวงที่ดี จะไม่มาช่วยท่านอยู่บ่อยๆหรอก สรุปคือ ... "กระบวนการดี ผลลัพธ์ดีแน่ กระบวนการไม่ดี ผลลัพธ์ไม่แน่ เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ อย่าบ้าผลลัพธ์มากจนเกินไป สิ่งสำคัญคือการพัฒนาการทำงาน ไม่ใช่ทำทุกทางเพื่อความสำเร็จ สำเร็จแล้วมิใช่เอาแต่ทำบุญหวังโชค หากต้องพัฒนาตนให้ก้าวต่อไปด้วย จึงจะมั่นคง" ปล.ต่อยอดความคิดจ

Ben Bernanke : พี่เหม่ง

Ben Bernanke เป็นบุคคลที่ผมชอบเขียนล้อเลียนขำขำ โดยเรียกว่า"พี่เหม่ง" ... เบนันเก้เป็นประธานFedที่รับไม้ต่อจากนายอลัน กรีนสแปน ซึ่งดำรงตำแหน่งเกือบ 20ปี บุคคลที่นักธุรกิจชาวUsกล่าวยกย่องถึงขนาดที่ว่าเป็นเทวดามาโปรด เพราะสามารถทำให้เศรษฐกิจus เติบโตอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด อย่างไรก็ดีไม่มีอะไรจะฝืนธรรมชาติได้ การโตอย่างต่อเนื่องมันต้องมีจุดย่อตัวบ้าง แต่ในขณะนั้นเศรษฐกิจus เติบโต เติบโต เติบโต จากมาตรการของนายกรีนสแปน ที่สำคัญก็คือการลดอัตราดอกเบี้ย เมื่อโตอย่างไม่หยุดพัก ก็เหมือนฟองสบู่ลอยล่องรอวันแตก จนกระทั่งพี่เหม่งของผมเข้ามารับช่วงต่อ ฟองสบู่ก็แตกโพล๊ะ พอดิบพอดี -_-" พี่เหม่งของผมก็เลยรับความซวยนี้ไปเต็มๆ ...อย่างไรก็ดีไม้เด็ดของเฮียอย่างQe ถือเป็นการคิดนอกกรอบเพื่อการแก้วิกฤติแบบนึกไม่ถึงเลยทีเดียว จึงทำให้ในปัจจุบันUs สามารถเอาตัวรอดจากวิกฤตนั้นมาได้ด้วยเงินร้อนๆจากQe 2557ม.ค. ,เฮียกำลังจะหมดวาระ โดยมีแคนดิเดตเช่น ลอว์เรนซ์ ซัมเมอร์ส  และ เจเน็ต เยลเลน ที่จะเข้ามารับช่วงต่อ ผมเขียนบทความนี้ขึ้นมาเพื่อชื่นชมเฮียแกจริงๆครับ คงคิดถึงไม่น้อยเลยอะ ..... T-